ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

Last updated: 19 ก.พ. 2567  |  4250 จำนวนผู้เข้าชม  | 

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?


ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล

ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล

ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล

ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล

 

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?
.
>> ฝ้าเลือด หรือในทางการแพทย์เรียกว่า Vascular Melasma หรือ Telangiectetic Melasma
.
ฝ้าเลือดเกิดจากความผิดปกติของเส้นเลือดฝอยบนใบหน้าเนื่องจากผิวหนังรับรังสีอัลตราไวโอเล็ตจากแสงแดดเป็นเวลานาน เส้นเลือดฝอยในชั้นหนังแท้จึงเพิ่มจำนวนขึ้นหรือเสื่อมสภาพ ทำให้เห็นเส้นเลือดฝอยแตกแขนงเป็นกระจุกบนผิวหน้า เกิดเป็นรอยสีชมพู สีน้ำตาลแดง ไปจนถึงสีคล้ำ เรียกว่า “ฝ้าเลือด”
.
- ฝ้าเลือดเกิดจากความผิดปกติของเส้นเลือดฝอยบนผิวหน้า ผลมาจากการใช้เครื่องสำอาง หรือยา ที่มีส่วนผสมของเสตียรอยด์ ทำให้เส้นเลือดฝอยแตกและมีเลือดกระจุกบริเวณพังผืดใต้ผิวหนังชั้นลึก
- โดยฝ้าจะมีสีน้ำตาลแดง จัดเป็นฝ้าที่รักษายาก ฝ้าเลือดพบในเพศหญิงได้มากกว่าเพศชายถึง 80%
- ซึ่งชนิดของฝ้ามีส่วนช่วยในการวางแผนการดูแลรักษาต่อไปครับ

ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล

ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล

ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล

ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล

ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล

ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล

ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล

.

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?


ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

สาเหตุของการเกิดฝ้าเลือด
* เมื่อผิวได้รับแสงแดดสะสมเป็นระยะเวลานานจะทำให้เซลล์ผิวหนังบริเวณนั้นเสื่อมสภาพ ชั้นผิวบางลง ร่วมกับ แสงแดดจะกระตุ้นเส้นเลือดฝอยเพิ่มจำนวนขึ้นจนเป็นฝ้าเลือด บริเวณที่พบฝ้าเลือดได้มากที่สุดคือบริเวณโหนกแก้มและสันจมูก
* ฝ้าเลือดจะคล้ำขึ้นจากฝ้าด้วยกันเอง เพราะเมื่อเป็นฝ้า เส้นเลือดฝอยใต้ผิวหนังจะเพิ่มปริมาณมากกว่าปกติ เส้นเลือดฝอยเหล่านี้จะส่งสัญญาณไปกระตุ้นเซลล์เม็ดสี (Melanocytes) ให้ผลิตเม็ดสี (Melanin pigment) มากขึ้น ดังนั้นจึงต้องใช้เลเซอร์ที่ทําลายเส้นเลือดฝอยเหล่านี้
* คนไทยมักใช้ผลิตภัณฑ์เร่งผิวขาวตามท้องตลาด เช่น ไฮโดรควิโนน (Hydroquinone) และสเตียรอยด์ Steroid หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้ผิวบาง และก่อให้เกิดฝ้าถาวรได้
* ผลิตภัณฑ์บำรุงผิวบางประเภทมีสารอันตราย เช่น ปรอท สเตียรอยด์ เป็นส่วนประกอบ ซึ่งสารเหล่านี้เป็นสารที่ห้ามนํามาใช้เป็นส่วนประกอบของเครื่องสําอาง หากใช้สารเหล่านี้เป็นระยะเวลานาน เส้นเลือดฝอยใต้ผิวหนังจะขยายตัวมากขึ้นจนเกิดเป็นฝ้าเลือด

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?


 .
การรักษาฝ้าเลือด
* หลีกเลี่ยงแสงแดด ควรทาครีมกันแดด ทั้งที่อยู่ในร่มและออกกลางแจ้งและต้องมีอุปกรณ์เสริม เช่น ร่ม หมวก อาหารบำรุงผิว
* หยุดใช้ครีมที่มีสารไฮโดรควิโนนและสารสเตียรอยด์ ที่มักอยู่ในครีมหน้าขาวต่างๆ ซึ่งมักไม่รับการรับรองจาก อย. เพราะครีมเหล่านี้ทำให้ผิวบางลง ไวต่อแสงได้ง่าย ส่งผลให้เกิดฝ้าได้ง่ายยิ่งขึ้น
* ทาครีมรักษาฝ้าที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและบำรุงเซลล์ผิว ซึ่งควรใช้แบบที่ผลิตจากสารสกัดธรรมชาติ เช่น กลุ่มแคโรทีนอยด์ Vitamin C หรือ E ก็จะช่วยปรับสีผิวโดยรอบให้รอยฝ้าค่อยๆ จางลงได้
* การใช้เวชสำอางที่ช่วยลดเม็ดสีโดยไม่ทำให้เกิดเส้นเลือดขยายเช่น Arbutin, Kojic acid , Thiamidol, Niacinamide, Tranexamic acid เป็นต้น
* ทามอยเจอไรเซอร์บำรุงผิว โดยเฉพาะที่มีฤทธิ์ลดการอักเสบของผิวเนื่องจากฝ้าเลือดมักจะมีเกราะป้องกันผิวที่เสียไปทำให้มีโอกาสแดงได้มากขึ้นครับ

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?

ฝ้าเลือด Telangiectatic Melasma ดูแลได้อย่างไร?


.
>> การรักษาฝ้าด้วยเลเซอร์/แสง (Laser/Light Therapy) เช่น IPL, QsNDYAG, Fractional Laser, Picosecond Laser เป็นเทคโนโลยีที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เพราะมีความแม่นยำและรักษาได้ตรงจุด
***แต่การรักษาฝ้านี้ก็เป็นเพียงการรักษาเสริมเท่านั้น ไม่ใช่การรักษาหลัก (ใช้ทำลายเม็ดสีที่ปลายเหตุ ไม่ได้ช่วยยับยั้งการสร้างเม็ดสีที่เป็นต้นเหตุ)ครับ***
•การทำเลเซอร์จะอาศัยหลักการปล่อยพลังงานความร้อนไปยังฝ้าเพื่อทำลายเม็ดสีโดยตรง นั่นจึงเป็นผลทำให้ผิวบริเวณที่ทำเลเซอร์นั้นไวต่อแสง (หลังทำในช่วง 2-4 สัปดาห์ห้ามโดนแดดอย่างเด็ดขาด), ผิวแพ้ง่าย (ต้องงดใช้เครื่องสำอางที่มีส่วนประกอบของกรดหรือใช้สครับเพราะจะทำให้เกิดอาการอักเสบได้ง่าย), ผิวแห้ง ตกสะเก็ด และเป็นขุย, เป็นสาเหตุการเกิดฝ้าใหม่และมีโอกาสกลับมาเป็นซ้ำได้ง่ายกว่าเดิม (เพราะผิวมีสภาพอ่อนแอจากการทำเลเซอร์), ฝ้าอาจเข้มขึ้น หรือเกิดจุดด่างขาว (อาจเกิดจากเครื่องมือที่ไม่มีคุณภาพหรือความไม่ชำนาญของแพทย์), อาจเกิดแผลเป็นจากเลเซอร์ เป็นต้นนอกจากนี้ ต้องทำเป็นประจำ อาศัยเครื่องมือการรักษาที่ทันสมัย และความชำนาญของแพทย์ (เพราะต้องปรับพลังงานที่ใช้ให้พอดีกับลักษณะของฝ้าที่เป็นไม่ให้มากหรือน้อยจนเกินไป)
• เนื่องจากฝ้าเลือดจะมีการขยายตัวของเส้นเลือดฝอยมากขึ้นดังนั้นการใช้เลเซอร์ที่สามารถจับกับเม็ดเลือดแดงโดยตรงเช่น Pulse Dye Laser (PDL,Vbeam) , Gold toning QsNdYag, Gold toning Picosecond Laser เป็นต้น จะสามารถช่วยลดความแดงได้ครับแต่ต้องระมัดระวังในคนที่มีสีผิวเข้ม มีโอกาสเกิดฝ้าเข้มมากขึ้นได้ครับ
ตัวอย่าง งานวิจัยโดย ผศ. นพ. ศุภะรุจ (หมอรุจ) และ รศ. นพ. เทอดพงศ์ และทีมงาน เกี่ยวกับการดูแลรักษาฝ้าเลือด Melasma with telangiectasia ด้วยการใช้เลเซอร์
✅พบว่าได้ผลในระดับหนึ่ง โดยต้องดูแลรักษาร่วมกับการทายาและปกป้องแสงแดดด้วยครับ

***ที่สำคัญคือต้องใช้อย่างระมัดระวังโดยเฉพาะในผู้ที่มีสีผิวเข้มครับ***
Lueangarun S, Namboonlue C, Tempark T. Postinflammatory and rebound hyperpigmentation as a complication after treatment efficacy of telangiectatic melasma with 585 nanometers Q-switched Nd: YAG laser and 4% hydroquinone cream in skin phototypes III-V. J Cosmet Dermatol. 2021 Jun;20(6):1700-1708. doi: 10.1111/jocd.13756.
.
https://bit.ly/3LiuyIa 
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/33002283/ 
.
Cr: หมอรุจชวนคุย

https://youtu.be/XsZ4jdpB8Lg 
https://bit.ly/36MpfBQ 
https://youtu.be/1ENnjw_eTaY 
https://youtu.be/47piPvirYp4 
.


คลิก!! จองสิทธิ์!! เพื่อรับข้อเสนอพิเศษ
(จำนวนจำกัด)
http://line.me/ti/p/@Demedclinic


...
ปรึกษาคุณหมอหรือสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
Tel : 063-959-4392 / 063-896-2514
Line: http://line.me/ti/p/@Demedclinic 
Line: @Demedclinic
Wechat/Whatsapp: Demedclinic
IG: https://www.instagram.com/drsuparuj   
www.facebook.com/drsuparuj  
Youtube: https://bit.ly/3p20YLE 
Blockdit: https://bit.ly/3d8vYr1 
https://vt.tiktok.com/ZSJ141Mdf/  
https://mobile.twitter.com/drruj1  
www.demedclinic.com    / www.demedhaircenter.com   

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้